จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม OPTIONS

จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม Options

จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม Options

Blog Article

-คู่ชีวิตสามารถรับเลี้ยงบุตรบุญธรรมร่วมกันได้

สิทธิได้รับประโยชน์ และสวัสดิการจากรัฐในฐานะคู่สมรส เช่น สิทธิประกันสังคม

ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือ สมรสเท่าเทียม เสนอโดย ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัจน์ ส.

คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

คำบรรยายภาพ, อรรณว์ ชุมาพร, นัยนา สุภาพึ่ง และณชเล บุญญาภิสมภาร ตัวแทนผู้เสนอร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม ฉบับภาคประชาชน

บทความดังกล่าวยังบอกด้วยว่า ไม่สามารถเหมารวมได้ว่าการแสดงบทบาทข้ามเพศในมหรสพเหล่านั้นเป็นพื้นที่ของกลุ่มผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศเสมอไป แต่มันอาจเป็นการแสดงศักยภาพของนักแสดงที่ต้องการทำให้เห็นว่าตนเองสามารถรับบทบาทใดก็ได้ เพื่อพิสูจน์ความสามารถของนักแสดงเอง โดยยกตัวอย่างบทสัมภาษณ์ของ รศ.

นักมานุษยวิทยาจากศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรฯ กล่าวต่อว่า การแสดงละครพื้นบ้านและมหรสพคือหลักฐานหนึ่งที่ทำให้เห็นชัดเจนว่า ผู้มีความหลากหลายทางเพศในไทยนั้นสามารถแสดงบทความข้ามเพศในที่สาธารณะได้อย่างอิสระมาก่อน

คำว่า “ผู้แม่-ผู้เมีย” เป็นคำที่คนเหนือและคนอีสานใช้เรียกผู้ที่มีเพศสภาวะทั้งหญิงและชายอยู่ในคน ๆ เดียวกัน ซึ่งในภาษาล้านนาเรียกว่า “ปู๊แม่-ปู๊เมีย”

The cookie is about so Hotjar can track the start from the person's journey for a total session depend. It does not contain any identifiable จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม facts.

สำรวจทุนจีนเทากำลังย้ายฐานสแกมเมอร์ออกจากชเวโก๊กโก่ จริงหรือไม่ ?

ในอนาคตสามารถจดทะเบียนสมรสในประเทศไทยได้ รวมถึงมีกฎหมายรองรับพิธีกรรมอื่น ๆ เช่น สิทธิการหมั้น การจดทะเบียนสมรส รวมถึงการจัดการทรัพย์สินของคู่สมรส รวมไปถึงการเป็นตัวแทนทางกฎหมาย สิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม และสิทธิได้รับประโยชน์จากสวัสดิการจากรัฐ (อาทิ สวัสดิการข้าราชการ รับประโยชน์ทแทนตามสิทธิประกันสังคม) นอกจากนี้ยังได้สิทธิในการขอสัญชาติอีกด้วย

ซิม-สาย-เสา-ไฟ เมื่อไทยคือ “แบตเตอรี” ของสแกมเมอร์ออนไลน์รอบชายแดน

ในประเด็นนี้ ณชเล บุญญาภิสมภาร กรรมาธิการจากสัดส่วนภาคประชาชนผู้เสนอกฎหมาย ให้คำอธิบายว่า การระบุคำที่เป็นกลางทางเพศไม่ใช่เรื่องใหม่ของสังคมไทย พร้อมยกตัวอย่างพลวัตหรือความเปลี่ยนแปลงของคำไทย อาทิ จากบุรุษไปรษณีย์ เป็นคำว่าเจ้าพนักงานไปรษณีย์ เป็นต้น

นอกจากนั้นในมุมมองเรื่องหมั้น ที่แต่เดิมให้ชายโดยกำเนิดเท่านั้นที่จะเป็นผู้รุกเริ่มนำของหมั้นไปหมั้นหญิง ก็กลับกลายเป็นว่าใครใคร่หมั้นก็หมั้น ไม่มีข้อที่จะต้องบังคับกะเกณฑ์ว่าเพศชายต้องเป็นฝ่ายรุกเริ่ม ซึ่งหมายความว่า กฎหมายให้อิสระในการกำหนดชีวิตเป็นสถาบันครอบครัวของบุคคลโดยไม่คำนึงเพศ แม้กระทั่งเรื่องฝ่ายเริ่มต้นเข้าหาอีกฝ่ายเพื่อการมอบของหมั้น ก็ไม่มีการกำหนดเจาะจงเพศอีกต่อไป

Report this page